top of page

   ทำไมต้อง โกลอัพทูโฮม กายภาพบำบัดที่บ้าน

เกี่ยวกับ โกลอัพทูโฮม กายภาพบำบัดที่บ้าน

           โกลอัพทูโฮม กายภาพบำบัดที่บ้าน เรามีทีมนักกายภาพบำบัดวิชาชีพ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาทและผู้สูงอายุ ให้การตรวจประเมิน รักษา ฟื้นฟู ป้องกัน และส่งเสริมศักยภาพให้กับคนไข้ระบบประสาทและคนไข้หลอดเลือดสมอง ตีบ แตก ตัน ผู้สูงอายุ และคนไข้หลังผ่าตัด โดยให้บริการรักษาทางกายภาพบำบัดถึงที่บ้าน มีการประเมินแรกรับ เพื่อประเมินความสามารถสูงสุดของคนไข้ วางแผนการรักษา และวางโปรแกรมการรักษาให้คนไข้เฉพาะบุคคล โดยหัวหน้าทีมนักกายภาพบำบัด

รีบรักษา ฟื้นฟูเร็ว ใช้เวลาน้อย มีโอกาสกลับมาใกล้เคียงปกติ

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

พื้นที่ให้บริการ

เขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล นนทบุรี สมุทรสาคร นครปฐม

ติดต่อเรา

ขอบคุณสำหรับข้อมูลเราจะติดต่อกลับโดยเร็วที่สุด

โกลอัพทูโฮม กายภาพบำบัดที่บ้าน

จันทร์-ศุกร์: 9am to 7pm

เสาร์: 9am to 4pm

อาทิตย์: Closed

Tel. 062-609-1457

Line-ID: @growuptohome

116/119 มบ.โกลเด้นนีโอพระราม 2 ต.พันท้ายนรสิงห์ อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร

เลขที่ใบอนุญาต 74106000567

line Grow Up To Home

เขตกรุงเทพมหานคร ปริมณฑล นนทบุรี สมุทรสาคร นครปฐม

พื้นที่ให้บริการ ถึงบ้าน

  • Line
  • google-map-growuptohome

อาการสงสัยว่าจะเป็นโรคหลอดเลือดสมอง (stroke สโตรค)

1. ใบหน้าและปากเบี้ยว(เฉียบพลัน)

2. แขนขาอ่อนแรง(ชาครึ่งซีก)

3. พูดไม่ชัด(ติดขัด นึกคำพูดไม่ออก)

4. รีบไปโรงพยาบาล ภายใน 4.5 ชั่วโมง

ถ้าเป็นโรคหลอดเลือดสมองมาเกิน 6 เดือนแล้ว หรือเป็นมาหลายปีแล้ว ฟื้นฟูได้ไหม

ได้ค่ะ ฝึกหลังจาก6เดือนไปแล้วสมองยังพัฒนาได้แต่จะช้ากว่าช่วง 6 เดือนแรก ซึ่งสมองส่วนที่ดีอยู่จะสร้างการทำงานให้มาทดแทนสมองส่วนที่เสียไปเชื่อมต่อเป็นโครงข่ายประสาท โดยวิธีการฝึกทำซ้ำๆจนเกิดการจดจำเรียนรู้

ขั้นตอนการรักษาฟื้นฟูโรคหลอดเลือดสมองมีอะไรบ้าง

หลังจากรักษาที่โรงพยาบาลอาการคงที่แล้ว จำเป็นมากในช่วง 3-6 เดือนแรกที่กายภาพบำบัดมีส่วนสำคัญอย่างมากในระยะเวลาทอง (golden period) ของการฟื้นฟูให้กับคนไข้ เพื่อให้สมองที่หยุดทำงานชั่วคราว มีพัฒนาที่เร็วและกลับมาทำงานให้ได้มากที่สุด แต่จะต้องฝึกทำให้หนักและบ่อยๆ เพื่อเป็นการกระตุ้นสมองและตอบสนองออกมาทางร่างกายให้ได้มากที่สุด

การฟื้นฟูในคนไข้หลอดเลือดสมอง นักกายภาพบำบัดทำอะไรบ้าง

เริ่มแรกนักกายภาพบำบัดจะเข้าไปประเมินอาการ และปรับโปรแกรมการรักษาให้ตามความสามารถของคนไข้แต่ละราย การฝึกจะเป็น

  • ฝึกกระตุ้นการสั่งการของกล้ามเนื้อ ให้มีแรง มีการควบคุมที่ดีมากขึ้น

  • ฝึกการรับรู้ตำแหน่งข้อต่อของร่างการ

  • ฝึกการทรงตัว นั่ง ยืน เดิน การถ่ายน้ำหนัก ลงน้ำหนักขาข้างที่อ่อนแรง

  • การเดิน

  • ปรับรูปแบบการเดินให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด (สำหรับคนไข้ที่เดินได้แล้ว)

bottom of page